เรื่อง 026 - ไทยทำ...ทำทำไม : ลายรดน้ำ

Original วัตถุดิจิตอล not accessible

พื้นที่ Identity

รหัสอ้างอิง

TH NDMI EXH-TMP-19-03-026

ชื่อเรื่อง

ไทยทำ...ทำทำไม : ลายรดน้ำ

วันที่

  • 2018-05 (การผลิต)

ระดับlของคำอธิบาย

เรื่อง

ขนาดและสื่อ

บริบทของเอกสาร

คลังเก็บ

ประวัติจดหมายเหตุ

แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร

เนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร

ขอบเขตและเนื้อหา

ลายรดน้ำ

ลายรดน้ำถือเป็นงานประณีตศิลป์ที่นิยมและเจริญสูงสุดในสมัยอยุธยาตอนปลาย เป็นการเขียนลวดลายตกแต่งผิวไม้ที่ช่างหลวงนำไปใช้ในงานของราชสำนักและงานที่เกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา เช่น ลวดลายประดับผนัง เสา บานประตู หน้าต่าง ของตำหนัก และอุโบสถ ตลอดไป จนถึงเครื่องเรือนอย่าง ตู้พระธรรม

การทำ ลายรดน้ำ ของช่างไทยมีกรรมวิธีที่ละเอียดซับซ้อน หลายขั้นตอนโดยเฉพาะลายรดน้ำบนตู้พระธรรม ซึ่งเราถือว่าเป็นของสำคัญที่ใช้เก็บสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจอย่างพระไตรปิฎก กรรมวิธีการทำเริ่มจากการลงรักหลายชั้น แล้วจึงเขียนลาย ปิดทอง และรดน้ำ ถือเป็นเทคนิคขั้นสูง และใช้เวลายาวนานในการทำ นับเป็นงานศิลปกรรมที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาตามแบบฉบับช่างไทยในราชสำนัก

ทำไม ไออินสไปร์

ความงดงามของลวดลายตามแบบไทย รังสรรค์ สร้างมิติ เพื่อบ่งบอกถึงความมีฝีมือทางศิลปะของไทยที่มีมาแต่โบราณ

การเพิ่มขึ้นของเอกสาร

ระบบการจัดเรียงเอกสาร

ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการเข้าถึง

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการทำสำเนา

ภาษาของเอกสาร

สคริปเอกสาร

หมายเหตุภาษาและตัวอักษร

เครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ

Generated finding aid

ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้อง

สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ

สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา

หน่วยของคำอธิบายที่เกี่ยข้อง

Related descriptions

ส่วนหมายเหตุ

Alternative identifier(s)

จุดเชื่อมต่อ

จัดจุดเข้าถึง

ชื่อจุดเข้าถึง

Genre access points

identifierของหน่วยงาน

วัตถุดิจิตอล (Master) rights area

วัตถุดิจิตอล (อ้างอิง) rights area

วัตถุดิจิตอล (Thumbnail) rights area

พื้นที่การเข้าถึงเอกสาร

Related people and organizations

Related genres

Related places