Showing 2211 results

Archival description
With digital objects
Print preview View:

ภาพถ่ายพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งที่ 1 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550)

พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งที่ 1 มิวเซียมสยาม ภายในอาคารมีการจัดพื้นที่ภายในจัดแสดง 17 ห้อง นิทรรศการ เรียนรู้ร้อยเรียงในชื่อ นิทรรศการถาวร "เรียงความประเทศไทย" ให้ผู้เข้าชมได้เรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ ได้แก่

  1. เบิกโรง (Immersive Theater)
  2. ไทยแท้ (Typically Thai)
  3. เปิดตำนานสุวรรณภูมิ (Introduction to Suvarnabhumi)
  4. สุวรรณภูมิ(Suvarnabhumi)
  5. พุทธิปัญญา (Buddhism)
  6. กำเนิดสยามประเทศ (Founding of Ayutthaya)
  7. สยามประเทศ (Siam)
  8. สยามยุทธ์ (War Room)
  9. แผนที่ ความยอกย้อนบนแผ่นกระดาษ (Map Room)
  10. กรุงเทพฯ ภายใต้ฉากอยุธยา (Bangkok, New Ayutthaya)
  11. ชีวิตนอกกรุงเทพฯ (Village Life)
  12. แปลงโฉมสยามประเทศ (Change)
  13. กำเนิดประเทศไทย (Politics & Communications)
  14. สีสันตะวันตก (Thailand and the World)
  15. เมืองไทยวันนี้ (Thailand Today)
  16. มองไปข้างหน้า (Thailand Tomorrow)
  17. ตึกเก่าเล่าเรื่อง

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. กลุ่มจัดตั้งพิพิธภัณฑ์

ภาพถ่ายพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งที่ 1 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550)

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินชมนิทรรศการ ห้องสีสันตะวันตก โดยมีนางสาวพธู คูศรีพิทักษ์ เป็นผู้ถวายรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อนิทรรศการ

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. กลุ่มจัดตั้งพิพิธภัณฑ์

ภาพถ่ายพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งที่ 1 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550)

สมเด็จพระเทพฯ เสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการ ห้องสยามประเทศ โดยมีนายสุทธิรัตน์ แก้วอาภรณ์ เป็นผู้ถวายรายละเอียดเนื้อหานิทรรศการ

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. กลุ่มจัดตั้งพิพิธภัณฑ์

ชาวนานักค้นคว้าแห่งท้องทุ่ง : ชาวนา = นักพันธุกรรมศาสตร์ ผู้ปลุกปั้นดีเอ็นเอข้าว

คัด + ผสม = ข้าว x 1000d จะปลูกข้าวทั้งที เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ก็ต้องเจ๋งจริงๆ ชาวนาให้ความสำคัญในการเลือกเฟ้นพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับผืนนาของตน เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูง ปลูกง่าย รวมถึงยังต้องเก็บสต็อกข้าวไว้หลายๆพันธุ์ เผื่อเอาไว้ปลูกในกรณีฉุกเฉินที่สภาพธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปมาก เป็นการลดความเสี่ยง และเพิ่มความมั่นคงทางอาหารให้แก่ชาวโลก

นอกจากนี้ ชาวนายังเป็น “นักพันธุ์กรรมศาสตร์” อีกด้วย เพราะข้าวที่ปลูกจะค่อยๆกลายพันธุ์ไป จึงต้องทำการปรับปรุงสายพันธุ์ โดยเลือกเอาข้อเด่นของข้าวแต่ละพันธุ์มาผสมกันและปลูกในแปลงทดลอง จากนั้นคัดเฉพาะต้นที่ให้ลักษณะตรงตามความต้องการ มาปลูกซ้ำอีกแปดรอบ เพื่อให้ได้ข้าวพันธุ์แท้ ก่อนนำไปปลูกจริง

ชาวนานักค้นคว้าแห่งท้องทุ่ง : มหัศจรรย์พันธุ์ข้าว

รู้ไหมว่า คนรุ่นก่อนคิดค้นพันธุ์ไว้ให้เรากว่า 60,000 ชนิด ชาวนาใช้พันธุ์ข้าวมหาศาลนี้อย่างชาญฉลาด ชาวนาหนึ่งคนอาจปลูกข้าวหลายพันธุ์ในคราวเดียวกัน เพราะนาหนึ่งผืน มีพื้นที่หลายลักษณะ แถมข้าวจะออกรวงไม่พร้อมกัน ทำให้ทยอยเกี่ยวทีละแปลงได้ทันก่อนข้าวจะล้ม นอกจากนี้ชาวนาจะเปลี่ยนพันธุ์ข้าวที่ปลูกบ้างเพื่อลดการสะสมของโรคระบาด ผลพลอยได้ท้ายที่สุดจะอยู่ที่คนกินข้าว เพราะข้าวต่างพันธุ์ก็ให้สารอาหารต่างกัน ยิ่งกินข้าวหลากหลาย ก็ยิงแข็งแรง

สูจิบัตร นิทรรศการ ชุด Ola Siao 500 ปี ไทย-โปรตุเกส

สูจิบัตร 500 ปี ไทย-โปรตุเกส ปฏิบัติการสุดขอบฟ้า เพื่ออำนาจ เงินตรา หรือศรัทธาแห่งพระเจ้า?

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ

สูจิบัตร นิทรรศการ ชุด นิเวศวัฒนธรรมไตรภาค

สูจิบัตร นิทรรศการนิเวศวัฒนธรรมไตรภาค

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ

Results 981 to 1000 of 2211