Showing 2211 results

คำอธิบายจดหมายเหตุ
With digital objects
Print preview View:

ไทยทำ...ทำทำไม : ลายรดน้ำ

ลายรดน้ำ

ลายรดน้ำถือเป็นงานประณีตศิลป์ที่นิยมและเจริญสูงสุดในสมัยอยุธยาตอนปลาย เป็นการเขียนลวดลายตกแต่งผิวไม้ที่ช่างหลวงนำไปใช้ในงานของราชสำนักและงานที่เกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา เช่น ลวดลายประดับผนัง เสา บานประตู หน้าต่าง ของตำหนัก และอุโบสถ ตลอดไป จนถึงเครื่องเรือนอย่าง ตู้พระธรรม

การทำ ลายรดน้ำ ของช่างไทยมีกรรมวิธีที่ละเอียดซับซ้อน หลายขั้นตอนโดยเฉพาะลายรดน้ำบนตู้พระธรรม ซึ่งเราถือว่าเป็นของสำคัญที่ใช้เก็บสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจอย่างพระไตรปิฎก กรรมวิธีการทำเริ่มจากการลงรักหลายชั้น แล้วจึงเขียนลาย ปิดทอง และรดน้ำ ถือเป็นเทคนิคขั้นสูง และใช้เวลายาวนานในการทำ นับเป็นงานศิลปกรรมที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาตามแบบฉบับช่างไทยในราชสำนัก

ทำไม ไออินสไปร์

ความงดงามของลวดลายตามแบบไทย รังสรรค์ สร้างมิติ เพื่อบ่งบอกถึงความมีฝีมือทางศิลปะของไทยที่มีมาแต่โบราณ

ภาพถ่ายพิธีเปิดนิทรรศการ ชุด ผู้แทนฯ เมืองไทย

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ จัดทำนิทรรศการเคลื่อนที่ ผู้แทนเมืองไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.ให้เกิดการเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย ผ่านบทบาทและภารกิจของผู้แทนฯ นับตั้งแต่มีระบบรัฐสภา
2.เผยแพร่บทบาทและภารกิจของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในอดีต
3.ให้ความรู้เกี่ยวเหตุการณ์สำคัญบางเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติการเมืองการปกครองของไทย

ภาพถ่ายพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งที่ 1 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550)

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงทอดพระเนตรการจัดแสดงภายในห้อง ชีวิตนอกกรุงเทพฯ ห้องนิทรรศการนี้สื่อให้เห็นถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นและความฉลาดหลักแหลมในเรื่องการคิดเครื่องมือทำกิน รวมถึงความเชื่อและพิธีกรรม วิถ๊การเกษตรที่มีความผูกพันธ์กับชาวไทยมาถึงปัจจุบัน โดยมีนางสาวจารุณี แย้มชื่น เป็นผู้ถวายเนื้อหาประจำห้องนิทรรศการ

ไม่ระบุชื่อเรื่อง

ผลลัพธ์ 1181 to 1200 of 2211